ซ่อมเครื่องเล่น DVD Ninetech ไม่อ่านแผ่น
ซ่อมเครื่องเล่น ดีวีดี อาการคือไม่อ่านแผ่น หรือใส่แผ่นไปบางทีก็เด้งออกมา จากการที่ได้ซ่อม dvd มาหลายเครื่อง ส่วนใหญ่มอเตอร์ไดร์แผ่นจะเสีย อย่าให้เสียเวลามาซ่อมกันเลย
ขั้นตอนตรวจซ่อม
1.ถอดฝาครอบเครื่องออก ตรวจเช็คหลักการทำงานเบื้องต้นก่อนคือ ถ้าเรากดแผ่นเข้าไป ไฟแดงหัวอ่านจะต้องสว่าง และมอเตอร์หมุนแผ่นต้องหมุนประมาณ 1-2วินาที นั้นคือปกติ แต่สำหรับเครื่องนี้ พอกดแผ่นเข้าไป หัวอ่านมีไฟแดงปกติแต่ มอเตอร์ไม่หมุน นั้นหมายถึงว่ามอเตอร์มีโอกาสเสีย 90%
2.ถอดมอเตอร์ไดร์แผ่นออกมาตรวจเช็ค โดยการใช้ถ่านไฟฉาย2ก้อน ทดสอบการหมุนถ้าหมุนช้าหรือไม่หมุน แสดงว่าเสีย และใช้มิเตอร์เข็มทดสอบได้เหมือนกัน คือตั้งไปที่วัดความต้านทาน RX1 แล้วเอาเข็มไปจิ้มสายมอเตอร์ ถ้ามอเตอร์หมุนก็แสดงว่าปกติ ถ้าไม่หมุนก็เสียครับ และจากการทดสอบด้วยมิเตอร์แล้ว มอเตอร์ไดร์แผ่นไม่หมุน ก็หมายถึงเสีย ไปซื้อมาใหม่ตัวละ 35 บาท 3ตัว 100บาท
3.ทดสอบการทำงานอีกครั้ง หลังจากเปลี่ยนมอเตอร์ไดร์แผ่น ไฟหัวอ่านปกติ มอเตอร์ไดร์แผ่นหมุนปกติ นั้นหมายถึงเครื่องทำงานแล้ว
4.แต่จากการที่ได้ซ่อม DVD หรือเครื่องเล่นแผ่นอื่นๆ ผมจะต้องสำรวจทุกครั้งว่าบอร์ดมีไอซีหลัก ติดซิ๊งค์แล้วหรือยัง ถ้ายังก็จะติดให้ไปเพื่อนอายุการใช้งานจะนานขึ้น จากรูปไอซีตัวใหญ่คือตัวคุมทั้งหมด ทั้งภาพและเสียงจึงร้อนทุกเครื่อง ส่วนตัวเล็กจะเป็นไอซีไดร์มอเตอร์ ตัวนี้ก็ร้อนเหมือนกัน
5.ประกอบเครื่องเทสการทำงานอีกครั้ง เครื่องสามารถทำงานได้ปกติ เครื่องเล่น DVD VCD ทั่วไปซ่อมง่ายครับ แต่ว่าถ้าเป็นพวกมินิคอมโป หรือเครื่องเสียงที่มีหลายๆอย่างอยู่ในเครื่องเดียวกันผมต้องขอผ่านครับ เพราะว่าต้องใช้เวลาในการซ่อมนานมาก แต่ถ้าเป็นเครื่องเดี่ยวๆอย่างนี้ กินหมู ^_^
ขั้นตอนตรวจซ่อม
1.ถอดฝาครอบเครื่องออก ตรวจเช็คหลักการทำงานเบื้องต้นก่อนคือ ถ้าเรากดแผ่นเข้าไป ไฟแดงหัวอ่านจะต้องสว่าง และมอเตอร์หมุนแผ่นต้องหมุนประมาณ 1-2วินาที นั้นคือปกติ แต่สำหรับเครื่องนี้ พอกดแผ่นเข้าไป หัวอ่านมีไฟแดงปกติแต่ มอเตอร์ไม่หมุน นั้นหมายถึงว่ามอเตอร์มีโอกาสเสีย 90%
2.ถอดมอเตอร์ไดร์แผ่นออกมาตรวจเช็ค โดยการใช้ถ่านไฟฉาย2ก้อน ทดสอบการหมุนถ้าหมุนช้าหรือไม่หมุน แสดงว่าเสีย และใช้มิเตอร์เข็มทดสอบได้เหมือนกัน คือตั้งไปที่วัดความต้านทาน RX1 แล้วเอาเข็มไปจิ้มสายมอเตอร์ ถ้ามอเตอร์หมุนก็แสดงว่าปกติ ถ้าไม่หมุนก็เสียครับ และจากการทดสอบด้วยมิเตอร์แล้ว มอเตอร์ไดร์แผ่นไม่หมุน ก็หมายถึงเสีย ไปซื้อมาใหม่ตัวละ 35 บาท 3ตัว 100บาท
3.ทดสอบการทำงานอีกครั้ง หลังจากเปลี่ยนมอเตอร์ไดร์แผ่น ไฟหัวอ่านปกติ มอเตอร์ไดร์แผ่นหมุนปกติ นั้นหมายถึงเครื่องทำงานแล้ว
4.แต่จากการที่ได้ซ่อม DVD หรือเครื่องเล่นแผ่นอื่นๆ ผมจะต้องสำรวจทุกครั้งว่าบอร์ดมีไอซีหลัก ติดซิ๊งค์แล้วหรือยัง ถ้ายังก็จะติดให้ไปเพื่อนอายุการใช้งานจะนานขึ้น จากรูปไอซีตัวใหญ่คือตัวคุมทั้งหมด ทั้งภาพและเสียงจึงร้อนทุกเครื่อง ส่วนตัวเล็กจะเป็นไอซีไดร์มอเตอร์ ตัวนี้ก็ร้อนเหมือนกัน
5.ประกอบเครื่องเทสการทำงานอีกครั้ง เครื่องสามารถทำงานได้ปกติ เครื่องเล่น DVD VCD ทั่วไปซ่อมง่ายครับ แต่ว่าถ้าเป็นพวกมินิคอมโป หรือเครื่องเสียงที่มีหลายๆอย่างอยู่ในเครื่องเดียวกันผมต้องขอผ่านครับ เพราะว่าต้องใช้เวลาในการซ่อมนานมาก แต่ถ้าเป็นเครื่องเดี่ยวๆอย่างนี้ กินหมู ^_^
เป็นบอร์ดรุ่นใหม่ๆๆของเครื่องเล่น DVD ที่มีปัญหาค่อนข้างมากเลยทีเดียวครับ... สาเหตุคือ เรื่องของความร้อนในตัวของบอร์ดเอง มีความร้อนค่อนข้างสูง....ทำให้การทำงานนั้นได้...แต่ความคงทนนั้นแทบจะจะไม่มีเลยก็
ว่าได้.....เป็นบอร์ดเล็กๆๆนะครับ..ในส่วนของ IC ที่นำเข้ามาควบคุมการทำงานและทำหน้าที่เป็นในส่วนของ CPU MPEG นั้น จะมีอยู่ 2 ค่ายครับ ที่เราเห็นกันอยู่แทบทุกตัวเลย นั่นคือ
1. SPHE8202
2. MT 1389
การตรวจสอบนั้นทำได้และมีขั้นตอนเหมือนกันครับในการจัดการและวัดไฟส่วนต่างๆ ซึ่งมีวิธีการจัดการและขั้นตอนอย่างไร
ว่าได้.....เป็นบอร์ดเล็กๆๆนะครับ..ในส่วนของ IC ที่นำเข้ามาควบคุมการทำงานและทำหน้าที่เป็นในส่วนของ CPU MPEG นั้น จะมีอยู่ 2 ค่ายครับ ที่เราเห็นกันอยู่แทบทุกตัวเลย นั่นคือ
1. SPHE8202
2. MT 1389
การตรวจสอบนั้นทำได้และมีขั้นตอนเหมือนกันครับในการจัดการและวัดไฟส่วนต่างๆ ซึ่งมีวิธีการจัดการและขั้นตอนอย่างไร
สำหรับอาการเปิดไม่ติดนี้..เราสามารถที่จะสังเกตุได้ว่า..ในส่วนของภาคจ่ายไฟนั้นสมบ
ูรณ์..หรือไม่..ซึ่งการสังนั้น สังเกตุได้ง่ายๆๆคือ..ส่วนใหญ่แล้วเครื่องเล่น DVD ของจีนนั้น มักใส่ในส่วนของหลอด LED ทำเป็นไฟส่องหลัง หรือ เราเรียกว่า Backlight นั่นเอง..จะตองติดและเห็นแสงได้...จุดนี้เองจะเป็นตัวบ่งบอกได้อย่างดีเหมือนกันครับ
ว่า...ภาคจ่ายไฟนั้น ได้ถูกจ่ายไฟออกมาแล้วแต่จะสมบูรณ์หรือไม่นั้นก็ต้องมาพิสูจน์และตรวจสอบวัดดูอีกทีห
นึ่งครับ...
ไฟที่ ส่งออกมาจาก ภาคจ่ายไฟ ที่ส่งมาที่บอร์ด นั้น...มีอยู่ไม่กี่ชุดนะครับ..คือ
1. ไฟ+ 5 Volt
2. GND กราวด์
3. +- 8 ถึง +12 Volt ส่วนนี้จะส่งไปเลี้ยงในส่วนของ Ic OP-AMp เท่านั้น....
แต่ก็จะมีหลายรุ่นเหมือนกันที่ใช้ไฟแค่ชุดเดียวครับ โดยเฉพาะรุ่นใหม่ๆๆนั้น...ก็จะใช้ไฟเข้ามาแค่ + 5 Volt เท่านั้นเอง....
ูรณ์..หรือไม่..ซึ่งการสังนั้น สังเกตุได้ง่ายๆๆคือ..ส่วนใหญ่แล้วเครื่องเล่น DVD ของจีนนั้น มักใส่ในส่วนของหลอด LED ทำเป็นไฟส่องหลัง หรือ เราเรียกว่า Backlight นั่นเอง..จะตองติดและเห็นแสงได้...จุดนี้เองจะเป็นตัวบ่งบอกได้อย่างดีเหมือนกันครับ
ว่า...ภาคจ่ายไฟนั้น ได้ถูกจ่ายไฟออกมาแล้วแต่จะสมบูรณ์หรือไม่นั้นก็ต้องมาพิสูจน์และตรวจสอบวัดดูอีกทีห
นึ่งครับ...
ไฟที่ ส่งออกมาจาก ภาคจ่ายไฟ ที่ส่งมาที่บอร์ด นั้น...มีอยู่ไม่กี่ชุดนะครับ..คือ
1. ไฟ+ 5 Volt
2. GND กราวด์
3. +- 8 ถึง +12 Volt ส่วนนี้จะส่งไปเลี้ยงในส่วนของ Ic OP-AMp เท่านั้น....
แต่ก็จะมีหลายรุ่นเหมือนกันที่ใช้ไฟแค่ชุดเดียวครับ โดยเฉพาะรุ่นใหม่ๆๆนั้น...ก็จะใช้ไฟเข้ามาแค่ + 5 Volt เท่านั้นเอง....
บอร์ด ของ LEONA ใช้ MT1389 ครับ...จุดตำแหน่งต่างๆๆ
1. CPU MPEG MPEG DECODER
2. SDRAM
3. วงจร RESET
4. EPPROM SPI Flash
5. วงจร จ่ายไฟ ชุด +3.3 และ + 1.8
6. IC DRIVE SERVO
ทั้งหมด 6 จุดที่ได้นำเสนอให้ครับเพื่อรับทราบพิกัดที่ชัดเจน
1. CPU MPEG MPEG DECODER
2. SDRAM
3. วงจร RESET
4. EPPROM SPI Flash
5. วงจร จ่ายไฟ ชุด +3.3 และ + 1.8
6. IC DRIVE SERVO
ทั้งหมด 6 จุดที่ได้นำเสนอให้ครับเพื่อรับทราบพิกัดที่ชัดเจน
1. การตรวจสอบในส่วนของแรงไฟ +3.3 และ +1.8 Volt
การจัดการนั้น โดยการนำแรงไฟ +5 Volt ส่งเข้าสู่วงจรที่จะทำหน้าที่ในการเปลี่ยนแปลงแรงไฟ จาก +5 Volt ให้เป็น +3.3 และ 1.8 โดยจะอาศัย ทรานซิสเตอร์ ในการการจัดการ...และควบคุมการทำงานโดย IC DRIVE เป็นตัวควบคุมในการจ่ายแรงไฟ +3.3 และ +1.8 เมื่อเราทราบเหตุผลตรงนี้แล้วก็หวังว่าเพื่อนสมาชิก คงจะจัดการจุดนี้ได้ไม่ยากแล้วครับ..
การจัดการจุดนี้ มี 2 รูปแบบด้วยกันคือ
1. ใช้ IC ในการจ่ายไฟ ตามภาพ ตัวนี้ง่ายมากในการตรวจสอบ ไม่ค่อยมีปัญหากับจุดนี้
2. ใช้ทรานซิสเตอร์ ในการจ่ายไฟ ซึ่งนิยมใช้มากในตอนนี้ ถูก แต่มีปัญหาง่ายกับการทำงานตรงนี้...
แรงไฟทั้งสองจุดนี้ต้องได้ ถ้ามีปัญหาเส้นใดเส้นหนึ่ง หรือทั้ง 2 เส้น เปิดไม่ติดแน่นอนครับ....
การจัดการนั้น โดยการนำแรงไฟ +5 Volt ส่งเข้าสู่วงจรที่จะทำหน้าที่ในการเปลี่ยนแปลงแรงไฟ จาก +5 Volt ให้เป็น +3.3 และ 1.8 โดยจะอาศัย ทรานซิสเตอร์ ในการการจัดการ...และควบคุมการทำงานโดย IC DRIVE เป็นตัวควบคุมในการจ่ายแรงไฟ +3.3 และ +1.8 เมื่อเราทราบเหตุผลตรงนี้แล้วก็หวังว่าเพื่อนสมาชิก คงจะจัดการจุดนี้ได้ไม่ยากแล้วครับ..
การจัดการจุดนี้ มี 2 รูปแบบด้วยกันคือ
1. ใช้ IC ในการจ่ายไฟ ตามภาพ ตัวนี้ง่ายมากในการตรวจสอบ ไม่ค่อยมีปัญหากับจุดนี้
2. ใช้ทรานซิสเตอร์ ในการจ่ายไฟ ซึ่งนิยมใช้มากในตอนนี้ ถูก แต่มีปัญหาง่ายกับการทำงานตรงนี้...
แรงไฟทั้งสองจุดนี้ต้องได้ ถ้ามีปัญหาเส้นใดเส้นหนึ่ง หรือทั้ง 2 เส้น เปิดไม่ติดแน่นอนครับ....
การตรวจสอบ ว่าจะเข้าไปตรวจวัดแรงไฟที่ว่า จุดใหนนั้น...สามารถตรวจสอบและวัดได้หลายๆๆจุดครับ เช่น
+3.3 Volt วัดที่ตำแหน่งของขาต่างๆๆดังนี้
ที่ขา 1 ของ IC SDRAM
ที่ขา 8 ของ IC SPI FLASH
ถ้าจุดนี้ได้จุดอื่นต้องได้ด้วยเช่นกันครับ ถ้าไม่เลวร้ายเกินไป.......
ส่วนแรงไฟ + 1.8 Volt สามารถตรวจสอบได้ที่ตำแหน่ง IC จ่ายไฟ 1.8 หรือไม่ก็ไปวัดแถวๆๆ IC MPEG ครับ รอบๆๆ IC จะมี C ชิพ ลงกราวด์อยู่มากมายสามารถตรวจสอบได้ครับ.....
+3.3 Volt วัดที่ตำแหน่งของขาต่างๆๆดังนี้
ที่ขา 1 ของ IC SDRAM
ที่ขา 8 ของ IC SPI FLASH
ถ้าจุดนี้ได้จุดอื่นต้องได้ด้วยเช่นกันครับ ถ้าไม่เลวร้ายเกินไป.......
ส่วนแรงไฟ + 1.8 Volt สามารถตรวจสอบได้ที่ตำแหน่ง IC จ่ายไฟ 1.8 หรือไม่ก็ไปวัดแถวๆๆ IC MPEG ครับ รอบๆๆ IC จะมี C ชิพ ลงกราวด์อยู่มากมายสามารถตรวจสอบได้ครับ.....
การตรวจสอบการทำงานของวงจร RESET
การทำงานของวงจรชุดนี้เหมือนเดิมครับกับเครื่องเล่น VCD DVD รุ่นแรกๆๆ ซึ่งปกติการทำงานนั้น แรงไฟที่จุด RESET ต้องเป็น H คือ มีไฟ +3.2 นั่นเอง ถ้าตรวจสอบแล้วไฟจุดนี้ไม่ได้ ต้องดูและตรวจสอบครับว่าส่วนใดที่เป็นปัญหา...
การตรวจสอบสามารถวัดได้ 2 คือ วัดแรงไฟที่ขา B ของทรานซิสเตอร์ที่ทำหน้าเป็น RESET SW จากนั้นทำการ ออนเครื่อง สังเกตุแรงไฟจะดีดขึ้นมาแว๊ปหนึ่งจากนั้นก็จะกลับเป็น 0 เหมือนเดิม ถือว่าจุดนี้ปกติแล้วครับ..จากวัดไฟที่จุดเดิมและทำการปิดเครื่อง สังเกตุแรงไฟจะติดลบเล็กน้อย...ถ้าได้แบบนี้แสดงว่าจุดนี้ OK แล้ว จากนั้น ไปวัดไฟที่ขา C จะต้องมีไฟ = +3.2 Volt ดดยประมาณ
การทำงานของวงจรชุดนี้เหมือนเดิมครับกับเครื่องเล่น VCD DVD รุ่นแรกๆๆ ซึ่งปกติการทำงานนั้น แรงไฟที่จุด RESET ต้องเป็น H คือ มีไฟ +3.2 นั่นเอง ถ้าตรวจสอบแล้วไฟจุดนี้ไม่ได้ ต้องดูและตรวจสอบครับว่าส่วนใดที่เป็นปัญหา...
การตรวจสอบสามารถวัดได้ 2 คือ วัดแรงไฟที่ขา B ของทรานซิสเตอร์ที่ทำหน้าเป็น RESET SW จากนั้นทำการ ออนเครื่อง สังเกตุแรงไฟจะดีดขึ้นมาแว๊ปหนึ่งจากนั้นก็จะกลับเป็น 0 เหมือนเดิม ถือว่าจุดนี้ปกติแล้วครับ..จากวัดไฟที่จุดเดิมและทำการปิดเครื่อง สังเกตุแรงไฟจะติดลบเล็กน้อย...ถ้าได้แบบนี้แสดงว่าจุดนี้ OK แล้ว จากนั้น ไปวัดไฟที่ขา C จะต้องมีไฟ = +3.2 Volt ดดยประมาณ
การตรวจสอบระบบ OSC 27MHz
ในส่วนของความถี่ที่ใช้.ยังคงเดิมเป็นมาตรฐานการเข้ารหัส เป็นความถี่หลักที่เกิดขึ้นมาเพื่อส่งให้กับระบบการทำงานของซิสเต็ม และ MPEG Dec ... กำเนิดขึ้นมาที่ 27 MHz เหมือนเดิมครับ ....สำหรับการตรวจสอบจุดนี้ ทำได้ไม่ยาก และมีวิธีจัดการได้ 2 แบบด้วยกันคือ การตรวจวัดด้วยมิเตอร์ นั่นหมายความว่าตรวจวัดแรงไฟ ว่าไฟจุดนี้ปกติหรือไม่...แต่จุดนี้เองก็จะสามารถบ่งบอกได้ในระดับหนึ่งว่าในส่วนของ
แรงไฟที่วัดได้ ปกติหรือไม่....แต่ถ้าจะให้ดีที่สุด ก็ต้องตามด้วยการตรวจวัดสัญญาณด้วยสโคป ตรงนี้ก็จะเป็นสิ่งที่ยืนยันได้ว่า ในส่วนของระบบตรงนี้พร้อมแล้ว.....
แรงไฟจุดนี้ปกติทั่วไปก็จะต้องได้ประมาณ 0.8 Volt โดยประมาณ หรือว่า สูงกว่าหรือต่ำกว่าเล็กน้อย.... ในส่วนของสโคปก็เชื่อว่าหลายๆๆท่านที่มีสโคปอยู่ในมือ ก็คงจะทราบกันดีว่าจะต้องตั้งในส่วนของ TIME/DIV ไปที่ตำแหน่งอะไร และVOLT/DIV ไปที่เท่าไหร่...ซึ่ง ณ.ตอนนี้ในส่วนของจุดนี้ ยังไม่ประสบกับปัญหา ...เพราะว่าในส่วนของเครื่องยังใหม่อยู่หรือเปล่า ...ก็ไม่ทราบได้ เสียหายไม่ทัน อย่างอื่นเสียไปก่อน.....ตรงนี้ก็คิดกันไป
ในส่วนของความถี่ที่ใช้.ยังคงเดิมเป็นมาตรฐานการเข้ารหัส เป็นความถี่หลักที่เกิดขึ้นมาเพื่อส่งให้กับระบบการทำงานของซิสเต็ม และ MPEG Dec ... กำเนิดขึ้นมาที่ 27 MHz เหมือนเดิมครับ ....สำหรับการตรวจสอบจุดนี้ ทำได้ไม่ยาก และมีวิธีจัดการได้ 2 แบบด้วยกันคือ การตรวจวัดด้วยมิเตอร์ นั่นหมายความว่าตรวจวัดแรงไฟ ว่าไฟจุดนี้ปกติหรือไม่...แต่จุดนี้เองก็จะสามารถบ่งบอกได้ในระดับหนึ่งว่าในส่วนของ
แรงไฟที่วัดได้ ปกติหรือไม่....แต่ถ้าจะให้ดีที่สุด ก็ต้องตามด้วยการตรวจวัดสัญญาณด้วยสโคป ตรงนี้ก็จะเป็นสิ่งที่ยืนยันได้ว่า ในส่วนของระบบตรงนี้พร้อมแล้ว.....
แรงไฟจุดนี้ปกติทั่วไปก็จะต้องได้ประมาณ 0.8 Volt โดยประมาณ หรือว่า สูงกว่าหรือต่ำกว่าเล็กน้อย.... ในส่วนของสโคปก็เชื่อว่าหลายๆๆท่านที่มีสโคปอยู่ในมือ ก็คงจะทราบกันดีว่าจะต้องตั้งในส่วนของ TIME/DIV ไปที่ตำแหน่งอะไร และVOLT/DIV ไปที่เท่าไหร่...ซึ่ง ณ.ตอนนี้ในส่วนของจุดนี้ ยังไม่ประสบกับปัญหา ...เพราะว่าในส่วนของเครื่องยังใหม่อยู่หรือเปล่า ...ก็ไม่ทราบได้ เสียหายไม่ทัน อย่างอื่นเสียไปก่อน.....ตรงนี้ก็คิดกันไป
ระบบการเชื่อมโยงข้อมูล
3 จุดที่กล่าวมานั้น...ในการจัดการและการตรวจสอบทำได้ไม่ยากมากนักครับ... เราสามารถที่จะจัดการได้ ซึ่งที่ว่ามานั้นกล่าวคือ สามารถที่จะวัดออกมาและได้เห็นเป็นรูปธรรมครับ ....แต่ส่วนและขั้นตอนต่อไปจุดนี้เองเป็นปัญหาค่อนข้างมากกับการจัดการส่วนนี้ วึ่งถ้าหากว่า ในส่วนของระบบตรงนี้เกิดปัญหาทุกอย่างมันจะสงบ และการตรวจสอบในส่วนของคำสั่งต่างๆๆนั้นกระทำได้ค่อนข้างยากพอสมควร ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับการออกแบบและการกำหนดในส่วนของ Software ของแต่ละค่ายครับ....
ระบบการเชื่อมโยงข้อมูล ส่วนนี้สำคัญมาก และการตรวจสอบทำได้ยากพอสมควร...
สำหรับในส่วนของ IC ที่ทำหน้าที่เป็น อีพรอม หรือที่เราเรียกว่า FLASH นั้น ก็มีการพัฒนา มาใช้เป็นประเภท SPI ตัวเล็กลง มีขาการใช้งาน 8ขา ได้รับความนิยมมากในตอนนี้.. ต้นทุนราคาทุกอย่างก็ถูกลง ทำให้สินค้าเครื่องเล่นที่เราเห็นตามท้องตลาดทั่วๆไปนั้นราคาจะถูกมาก....
ขาการใช้งานมีขาอะไรบ้างเรามาดูตามถาพครับ
ขาที่ 1 CE ทำหน้าที่เป็นขาเชื่อมเปิดการใช้งาน
ขาที่ 2 DO ทำหน้าที่เป็นสัญญาณ DATA OUT
ขาที่ 3 WE ทำหน้าที่เป็น ขา อ่านและเขียนข้อมูล
ขาที่4 GND ............................
ขาที่ 5 DI ทำหน้าที่เป็นสัญญาณ DATA IN
ขาที่ 6 CLK ทำหน้าที่เป็นสัญญาณนาฬิกา
ขาที่ 7 HOLD ทำหน้าที่เป็นขาตรวจสอบ
ขาที่8 VDD ทำหน้าที่เป็น ไฟเลี้ยง IC
3 จุดที่กล่าวมานั้น...ในการจัดการและการตรวจสอบทำได้ไม่ยากมากนักครับ... เราสามารถที่จะจัดการได้ ซึ่งที่ว่ามานั้นกล่าวคือ สามารถที่จะวัดออกมาและได้เห็นเป็นรูปธรรมครับ ....แต่ส่วนและขั้นตอนต่อไปจุดนี้เองเป็นปัญหาค่อนข้างมากกับการจัดการส่วนนี้ วึ่งถ้าหากว่า ในส่วนของระบบตรงนี้เกิดปัญหาทุกอย่างมันจะสงบ และการตรวจสอบในส่วนของคำสั่งต่างๆๆนั้นกระทำได้ค่อนข้างยากพอสมควร ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับการออกแบบและการกำหนดในส่วนของ Software ของแต่ละค่ายครับ....
ระบบการเชื่อมโยงข้อมูล ส่วนนี้สำคัญมาก และการตรวจสอบทำได้ยากพอสมควร...
สำหรับในส่วนของ IC ที่ทำหน้าที่เป็น อีพรอม หรือที่เราเรียกว่า FLASH นั้น ก็มีการพัฒนา มาใช้เป็นประเภท SPI ตัวเล็กลง มีขาการใช้งาน 8ขา ได้รับความนิยมมากในตอนนี้.. ต้นทุนราคาทุกอย่างก็ถูกลง ทำให้สินค้าเครื่องเล่นที่เราเห็นตามท้องตลาดทั่วๆไปนั้นราคาจะถูกมาก....
ขาการใช้งานมีขาอะไรบ้างเรามาดูตามถาพครับ
ขาที่ 1 CE ทำหน้าที่เป็นขาเชื่อมเปิดการใช้งาน
ขาที่ 2 DO ทำหน้าที่เป็นสัญญาณ DATA OUT
ขาที่ 3 WE ทำหน้าที่เป็น ขา อ่านและเขียนข้อมูล
ขาที่4 GND ............................
ขาที่ 5 DI ทำหน้าที่เป็นสัญญาณ DATA IN
ขาที่ 6 CLK ทำหน้าที่เป็นสัญญาณนาฬิกา
ขาที่ 7 HOLD ทำหน้าที่เป็นขาตรวจสอบ
ขาที่8 VDD ทำหน้าที่เป็น ไฟเลี้ยง IC
สำหรับการตรวจสอบจุดนี้อย่างที่กล่าวมา ทำได้ไม่ง่ายนัก เพราะฉะนั้นสิ่งที่เราต้องทำคือเรื่องการใช้ประสบการณ์ หรือไม่ก็ต้องลอง นั่นก็หมายความว่า การตรวจสอบทำมาหมดแล้ว ระบไฟทุกอย่างก็ดีแล้วได้แล้ว...เราก็ต้องมามองไปที่ IC FLASH ตัวนี้ครับ ครั้นจะไปตรวจสอบก็ลำบาก เพราะฉะนั้นจึงจำเป็นครับที่จะต้องมีเครื่องมือที่จะทำการ FLASH หรือว่า ก้อปข้อมูล ใหม่... แต่สิ่งที่เราต้องระวังก็คือว่า..เราต้องมั่นใจว่า ตอนนี้เรามีข้อมูล Firmware ของรุ่นนี้อยู่ในมือ แต่ถ้าให้ปลอดภัยที่สุด ท่านจะต้องทำการ อ่านข้อมูล หรือว่า ดูดเก็บข้อมูลเดิมไว้ก่อน...จากนั้น ค่อยทำการ เขียนหรือว่าอัดข้อมูลใหม่ลงไป....ตรงนี้เองก้จะสามารถบอกและช่วยท่านได้ครับ..ว่า ในส่วนของข้อมูลเดิมนั้นเสียหายหรือไม่...ซึ่งถ้าเกิดอาการนี้แล้ว เมื่อเราได้ทำการตรวจสอบในส่วนของรายละเอียดและองค์ประกอบในการทำงานครบแล้ว เป็นไปได้สูงเลยทีเดียวครับที่ ในส่วนของ IC FLASH ตัวนี้เสีย..ซึ่งส่วนใหญ่ที่เจอก็มักจะเป็นเช่นนั้นจริงๆๆ...
อาการที่เกิดขึ้น มีอะไรบ้าง....
1. เปิดไม่ติด
2. เปิดติดแต่เครื่องไม่ทำงาน
3. เปิดติดทำงานได้ แต่โลโก้ออกมามั่ว ผิด ตามภาพ
4. เปิดติด แต่ NO DISC
อาการที่เกิดขึ้น มีอะไรบ้าง....
1. เปิดไม่ติด
2. เปิดติดแต่เครื่องไม่ทำงาน
3. เปิดติดทำงานได้ แต่โลโก้ออกมามั่ว ผิด ตามภาพ
4. เปิดติด แต่ NO DISC
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น